สุขภาพ
อาการของโรคเริม
การรักษาโรคเริม
สาเหตการเกิดเริม

บทความสุขภาพ
สุขภาพดีพระพุทธเจ้า
ดูแลสุขภาพคิดบวก ว.วชิรเมธี
อาหารสุขภาพวิธีขจัดเซลลูไลท์ 
อาหารเสริมกินจืดยืดชีวิต
สมุนไพรสูตรLowแคลอรี่

remahealth

บทความสุขภาพ
ลดกินแป้ง ลดสิว
+กล้ามท้องที่เซ็กซี่
+ Article Health
หนังสือสุขภาพ
+Rema Books

สมุนไพรไทยสมุนไพร
+มะตูม
+
กระเทียม
+
ขมิ้นชัน
+
ขิง
+มะขาม

บทความสุขภาพ
+ขาดธาตุเหล็กจะเป็น อย่างไร
+อาหารทำให้ง่วงนอน เวลาขับรถทางไกล
+ธนบัตรเป็นตัวแพร่
เชื้อโรค

+ช่วงเวลาที่ควรออก
กำลังกาย

+ยิ่งกินกากยิ่งด
+เลือกรองเท้าให้ดี

สุขภาพดี บทความสุขภาพ อาหารสุขภาพ สุขภาพผู้หญิง สุขภาพผู้ชาย
Custom Search
โรคเริม มีอาการอย่างไร

เริมเป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่พบบ่อยบริเวณริมฝีปาก ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส
ชื่อเฮอร์ปีส์ (Herpes simplex) นอกจากนั้นยังก่อโรคได้เกือบทุกแห่ง
ของร่างกาย พบได้บ่อยได้แก่ เริมบริเวณอวัยวะเพศ ,เริมบริเวณก้น เราจึง
ควรรู้ถึงอาการ สาเหตุที่เกิด และวิธีรักษาดูแลไม่ให้เริมลุกลาม

เริม มีลักษณะเริ่มต้นเป็นตุ่มน้ำพองใสเหมือนหยดน้ำเล็ก ๆ มีขอบแดง มัก
ขึ้นรวมกันเป็นกลุ่ม ต่อมาตุ่มน้ำเหล่านี้จะแตกเป็นแผลถลอกตื้น ๆ และหาย
ไปในที่สุด ถ้าไม่ได้รับเชื้อหนองซ้ำเติม


การติดเชื้อเริมครั้งแรก
อาการจะค่อนข้างรุนแรงมีไข้ปวดเมื่อย หรือต่อมน้ำเหลืองในบริเวณใกล้
เคียงกับเริม อักเสบร่วมด้วย เช่น ถ้าเป็นเริมที่อวัยวะเพศ ต่อมน้ำเหลือง
บริเวณขาหนีบอักเสบ หรือถ้าเป็นเริมที่ริมฝีปาก ต่อมน้ำเหลืองที่คออัก
เสบได้ เป็นต้น

ถ้าไม่ได้รับการรักษาแผลจะหายภายใน 2-3 สัปดาห์โรคเริมที่เกิดซ้ำอาการ
ไม่ค่อยรุนแรงเหมือนครั้งแรก ผู้ป่วยจะมี “อาการเตือน” นำตุ่มน้ำมาก่อน
ประมาณ 2 ชม. – 3 วัน เช่นเจ็บเสียวแปลบ ๆ คันยุบยิบ ปวดแสบปวดร้อน
ในบริเวณรอยโรคเดิม แผลจะหายเร็วภายใน 7-10 วัน ยกเว้นในผู้ป่วยที่มี
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ได้แก่ ผู้ป่วยเอดส์ ผู้ป่วยมะเร็ง รอยโรคอาจรุนแรงหรือ
เป็นแผลเรื้อรังได้

เชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ ติดต่อได้อย่างไร
เราสามารถตรวจพบเชื้อไว้รัสนี้ในตุ่มน้ำและแผลถลอกที่รอยโรคเริม เชื้อ
กระจายสู่ผู้อื่นได้ทางการสัมผัสทางกาย จูบ ร่วมเพศ โดยแทรกเข้าทางเยื่อ
บุ หรือผิวหนังที่ถลอกเป็นแผล แล้วก่อให้เกิดผื่นเริมใน 2-20 วัน หลังรับ
เชื้อ หรือในรายที่มีร่างกายแข็งแรงอาจไม่ปรากฏรอยโรคเริมเลยก็ได้หลัง
จากนั้น เชื้อหลบแฝงตัวที่ปมประสาท ไม่ก่อรอยโรคเริมจนกว่าจะถูกกระตุ้น ก็จะกลับมาก่อรอยโรคเริมอีกครั้ง

ตัวกระตุ้นโรคเริมให้เกิดซ้ำ
ตัวกระตุ้น ดังกล่าวได้แก่ ภาวะที่ร่างกายมีภูมิต้านทานต่ำลง พักผ่อนไม่
เพียงพอ อ่อนเพลียขาดสารอาหาร ความเครียด วิตกกังวล ผู้หญิงใกล้มี
ประจำเดือน ผิวหนังอักเสบ เสียดสีกับเครื่องแต่งกายรัด ๆ การหลีกเลี่ยง
ตัวกระตุ้นเหล่านี้อาจทำให้การเกิดเป็นซ้ำของเริมห่างออกไป

ปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อเป็นโรคเริม
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผลเริม เพราะอาจแพร่เชื้อไปสู่บริเวณอื่นของร่าง
กายหรือติดต่อผู้อื่นได้
- ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ หลังเข้าห้องน้ำ อย่าขยี้ตา
- เมื่อมีแผลเริมที่ริมฝีปาก ห้ามจูบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็ก ผู้หญิงมีครรภ์
- งดการมีเพศสัมพันธ์ ตั้งแต่เริ่มมีอาการเตือนจนกระทั่งแผลหาย เพราะ
เป็นช่วงปล่อยเชื้อ ถึงแม้ใช้ถุงยางอนามัยก็ไม่ปลอดภัย 100%
(ข้อมูลจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล)

การรักษาโรคเริม

Post 21 August 2014

        บทความสุขภาพ สมุนไพร อาหารสุขภาพ
                                                    


ขอจงทรงพระเจริญ
ยิ่งยืนนาน ด้วยเกล้า
โครงการพระราชดำริ

สุขภาพดี

สุขภาพดีดีหน้าต่างสุขภาพ

+สุขภาพผู้หญิง
+สุขภาพผู้ชาย
+สุขภาพเด็ก
+สุขภาพวัยรุ่น
+ผู้สูงอายุ 

อาหารสุขภาพสถานที่เที่ยวไทย

โรคภัยไข้เจ็บการรักษาโรค
-โรคเกาต
-
รักษาการนอนกรน
-
กรดไหลย้อน
-
ติสต์แตกเสี่ยงโรค
-
อัลไซเมอร์

   

อาหารสุขภาพอาหารสุขภาพ
+เห็ดล้างพิษ
+
ฟักทองผัดไข่
+น้ำมะนาว
+ถั่วเขียวต้ม
งาดำ

บทความลดน้ำหนัก
+อะโวคาโดลดไขมัน
+ลดน.น.ด้วยน้ำเปล่า
+น้ำมันมะพร้าว
+วิ่งสมาธิ 
+กินสมาธ
อ่านบทความอื่น